เกษตร แบบ ผสมผสาน

ผลผลิตจากการทำเกษตรแบบผสมผสานค่อนข้างจะให้ปริมาณน้อยกว่าระบบเกษตรแบบเชิงเดี่ยว เรียบเรียงโดย: Me-panya

เกษตรอินทรีย์แบบผสมผสาน 12 ไร่ มีผลผลิตขายทั้งปี ไปได้ดีไม่มีจน ที่เมืองกาญจน์ | เทคโนโลยีชาวบ้าน | LINE TODAY

1 วัตถุประสงค์ที่ต้องการจัดตั้งศูนย์การเรียนภูมิปัญญาไทย คือเพื่อเป็นจุดถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ที่ประสบความสำเร็จด้วยตนเอง เป็นที่พบปะแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ของผู้ที่มาศึกษาดูงาน 2. 2 ขั้นตอน/แนวทางการจัดตั้งศูนย์การเรียนภูมิปัญญาไทย 1. จัดตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการศูนย์ฯ และกลุ่มองค์กร 2. สำรวจและเก็บข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มเกษตรกรและกลุ่มเครือข่ายที่มีความสนใจที่จะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 3. จัดเก็บข้อมูลและจัดหาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรเพื่อแจกจ่ายให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ ในหลักสูตรต่างๆ เช่น แผ่นพับ ฯลฯ 4. คิดค้นหาหลักสูตรที่เหมาะสมสำหรับการถ่ายทอดแก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ 5. กำหนดแผนการปฏิบัติงานของศูนย์ฯ ให้เหมาะสม 2. 3 แนวทาง / กิจกรรมที่จะดำเนินการ จัดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเกษตรผสมผสาน (เกษตรธรรมชาติ) ของศูนย์การเรียนรู้บ้านแสงเทียน ให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจเพื่อเป็นการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืนเสมอไป 2. 4 วิธีการ / กระบวนการถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ให้ผู้ที่สนใจ – โดยการบรรยายและพาออกไปดูพื้นที่ – โดยการสาธิตให้ดูและให้ลองปฏิบัติจริง – โดยการจัดพิมพ์ใส่ในกระดาษ แจกจ่ายให้แก่ผู้ที่สนใจ เช่น สูตรวิธีการดูแลไม้ผลต่างๆ สูตรปุ๋ยสมุนไพร ต่างๆ ฯลฯ 2.

ตามหัวข้อเลยครับ คือส่วนใหญ่มักจะเห็นแต่ข้อดีของการทำเกษตรผสมผสานน่ะครับ เลยอยากทราบข้อเสียของการทำเกษตรแบบนี้บ้าง ตอนนี้กำลังอยู่ในช่วงวางแผน/เตรียมข้อมูลในทำอะครับ ใครมีประสบการณ์รบกวนแชร์ประสบการณ์ให้ทราบบ้างนะครับ ถือว่าเป็นวิทยาทานให้แก่ จขกท. ด้วยครับ ขอบคุณครับ แสดงความคิดเห็น

ลดความเสี่ยงจากความแปรปรวนของสภาพลม ฟ้า อากาศ จากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีความแปรปรวนในแต่ละปี ซึ่งมีแนวโน้มจะรุนแรงมากขึ้น เช่น เกิดภาวะฝนแล้ง ฝนทิ้งช่วง น้ำท่วมฉับพลัน เป็นต้น จึงเป็นปัญหาที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเกษตรกรที่มีกิจกรรมการเกษตรเพียง อย่างเดียว เช่น ข้าว หรือพืชไร่ ดังนั้น หน่วยงานวิจัยและพัฒนาของกรมวิชาการเกษตร รวมทั้งเกษตรกรบางส่วนจึงได้พยายามศึกษาและพัฒนาการแปรเปลี่ยนพื้นที่นาหรือไร่นาบางส่วนมาดำเนินการระบบเกษตรผสมผสานที่มีหลาย ๆ ปลูกพืชสวน (ไม้ผล พืชผัก) การเลี้ยงสัตว์ หรือการเลี้ยงปลาทดแทนรายได้จากการปลูกข้าวหรือพืชไร่ที่อาจเสียหาย จากสภาวะฝนแล้งหรือน้ำท่วม 2. ลดความเสี่ยงจากความผันแปรของราคาผลผลิต ในการดำเนินระบบการเกษตรที่มีเพียงกิจกรรมเดียว ที่มีการผลิตเป็นจำนวนมาก ผลผลิตที่ได้เมื่อออกสู่ตลาดพร้อมกัน ไม่ว่าจะเป็นข้าว พืชไร่ ไม้ผล หรือพืชผัก เมื่อมีปริมาณ เกินความต้องการของตลาดย่อมทำให้ราคาของผลผลิตต่ำลง การแปรเปลี่ยนพื้นที่นาหรือไร่บางส่วนมาดำเนินการ ระบบเกษตรผสมผสานจะสามารถช่วยลดความเสี่ยงจากความผันแปรของราคาผลผลิตในตลาดลงได้ เนื่องจากเกษตร กรสามารถจะเลือกชนิดพืชปลูกและเลือกกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดได้เป็นอย่างดี 3.

ไอเดีย ไอเดีย...เกษตรแบบผสมผสาร 30 รายการ | เกษตรยั่งยืน, ฟาร์ม, การออกแบบสวน

ก. ส. )

1 ไร่หายจน ด้วย เกษตรผสมผสานแบบพอเพียง

เกษตรแบบผสมผสาน ตัวอย่าง

เป็นตัวชี้วัดได้ว่าเกษตรกรทุกคนนั้นมีอาการเพียงพอต่อการบริโภคหรือไม่ มีงานทำที่ดีหรือไม่ และที่สำคัญ มีรายได้อย่างต่อเนื่องหรือไม่ 2. การทำการเกษตรแบบผสมผสานนั้นถือเป็นการจัดการระบบของกิจกรรมการผลิตในไร่น่า ไม่ว่าจะเป็น พืช สั ต ว์ ประมงต่างๆ ให้มีการผสมผสานเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและเกื้อกูลกัน 3. ทำให้การบริโภคไปนั้นก็รู้สึกสบายใจได้อีกด้วย เรียกได้ว่าการบริโภคพืชผักที่มาจากระบบเกษตรชนิดนี้นั้นก็ย่อมจะทำให้เราได้รับแต่สิ่งที่ดีเข้าสู่ร่างกาย 4. ทำให้คุณภาพชีวิตของเกษตรกรนั้นมีความเป็นอยู่ที่ดีและที่สำคัญก็ย่อมจะทำให้เกิดทุนหมุนเวียนภายในไร่ได้เป็นอย่างดี 5. ฟื้นฟูสภาพความสมดุลของธรรมชาติให้กลับมาดี ไม่ว่าจะเป็นความสมบูรณ์ของดิน ความสะอาดของน้ำ การดูดซึมน้ำใต้ดินมาใช้ประโยชน์ในหน้าแล้งของพืช 6. เกิดการมีส่วนร่วมของเกษตรกร ชุมชน และสังคมในการมีส่วนร่วมในการใช้ทรัพยากรต่างๆ รวมถึงการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกระบวนการผลิต ข้อเสียของการทำเกษตรแบบผสมผสาน 1. การเกษตรแบบผสมผสานนั้นสิ่งที่จะต้องมีและพร้อมมากที่สุดนั้นก็คือที่ดิน ทุน แรงงาน ที่เหมาะสมกับการทำการเกษตร 2. ต้องมีความอดทนที่สูง มีความขยันเข้ามาร่วมด้วย จึงจะสามารถที่จะประสบความสำเร็จในการวางแผนและการจัดการทรัพยากรต่างๆ ให้ดีและมีประสิทธิภาพ 3.

ช่วยกระจายการใช้แรงงาน ทำให้มีงานทำตลอดปี เป็นการลดปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานออกนอกภาคการ เกษตร และในสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศขณะนี้ ทำให้เกิดปัญหาคนว่างงานจำนวนมาก ระบบเกษตรผสม ผสานจะรองรับแรงงานเหล่านี้ได้ ทั้งนี้เนื่องมาจากระบบเกษตรผสมผสาน มีกิจกรรมหลายกิจกรรมแต่ละกิจกรรมมีการ ใช้แรงงานแตกต่างกันไป เมื่อรวมกิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้ไว้ด้วยกันในระบบเกษตรผสมผสานจึงมีการใช้แรงงานมากขึ้น มีการกระจายแรงงานไปตามกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดปี เมื่อเปรียบเทียบกับระบบเกษตรที่มีกิจกรรมเดียว ดังเช่น ข้าวหรือพืช ไร่ และสามารถลดปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงาน ออกจากพื้นที่ได้ถึงร้อยละ 87 7.

เกษตรแบบผสมผสาน ตัวอย่าง

เพื่อเพิ่มผลผลิตต่อพื้นที่โดยมีการจัดการเรื่องทุน ที่ดิน และแรงงานอย่าง มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดผลผลิตต่อหน่วยการผลิตสูง เช่น การเลี้ยงปลาในนาข้าว ทำให้ได้ทั้งพืช ผลผลิตข้าวและปลา ในพื้นที่เดียวกัน 3. สร้างเสถียรภาพและความยั่งยืน ทั้งทางเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมให้ เกิดขึ้นในไร่นาและครอบครัวการเกษตร 4. เกษตรแบบผสมผสานลดความเสี่ยงในการผลิต ในด้านการผลิตที่อาจ เสียหาย หรือความไม่แน่นอนและเสียเปรียบเรื่องราคา ตลอดจนไม่แน่นอนของดินฟ้าอากาศ 5. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมให้กลับคืนสู่สภาพที่อุดมสมบูรณ์ได้ เพราะการปลูกไม้ยืนต้นไม่ว่าจะเป็นไม้ผลหรือไม้ใช้สอยในระบบเกษตรแบบผสมผสานจะช่วยให้เกิด ความร่มเย็น มูลสัตว์จะเป็นปุ๋ยแก่พืช เศษพืชเป็นอาหารสัตว์และทำปุ๋ยอินทรีย์ 6. เกษตรกรมีงานทำตลอดปี จะช่วยแก้ปัญหาการอพยพแรงงานจากชนบท เข้าสู่เมือง ตัดปัญหาการขายแรงงาน การก่ออาชญากรรม การค้ามนุษย์ เป็นต้น 7. ลดการใช้พลังงานในการเกษตรลง เพราะปัจจัยการใช้พลังงานสามารถ จัดหาได้จากผลพลอยได้จากผลผลิตในไร่นา เช่น ก๊าซชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยหมักและไม้ใช้สอยที่ เกิดจากไม้โตเร็วต่าง ๆ แรงงานจากสัตว์เลี้ยง เช่น วัว ควาย 8.

รักษาสภาพทางนิเวศวิทยา การทำเกษตรแบบผสมผสานเป็นการเพิ่มพูน ความอุดมสมบูรณ์ให้กับคน รักษาความสมดุลย์ให้กับสภาพแวดล้อมซึ่งความสมดุลย์จะเกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ เช่น ก๊าซไนโตรเจนในธรรมชาติจะถูกเปลี่ยนเป็นอินทรีย์วัตถุโดยจุลินทรีย์ที่อาศัยอยู่ ในรากพืชตระกูลถั่วและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน จนทำให้ไนโตรเจนที่อยู่ในรูปที่พืชจะสามารถ นำไปใช้ประโยชน์ได้ ส่วนธาตุอาหารอื่นๆ พืชสามารถสะสมพลังงานแสงแดดในรูปของเนื้อไม้ อาหารและโปรตีน เศษซากพืชที่ร่วงหล่นบนพื้นดินจะเน่ากลายเป็นอาหารพืช ผลที่เกิดจากการทำการเกษตรแบบผสมผสาน 1. ผลระดับครัวเรือน 1. 1 ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ทำตามกำลังและศักยภาพแห่งตน เน้นการพึ่งตนเองในทุกๆ ด้าน สามารถอุ้มชูตัวเองได้ ให้มีความพอเพียงกับตัวเอง (Self Sufficiency) ซึ่งสามารถดำรงอยู่ได้โดยไม่ต้องพึ่งพาปัจจัย ภายนอก 1. 2 สร้างเสถียรภาพ (Stability) และความยั่งยืน (Sustainability) ทั้งทางเศรษฐกิจและทางสภาพแวดล้อมให้เกิดขึ้นในไร่นาและครอบครัวของเกษตรกร 1. 3 เพิ่มผลผลิตต่อหน่วยการผลิต (ที่ดิน แรงงานและทุน) 1. 4 ปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ และคุณภาพของประชากรใน ท้องถิ่นให้ดีขึ้นเพราะมีอาหารครบตามต้องการทุกหมู่ เช่น แป้ง น้ำตาล โปรตีน และเกลือแร่ ที่ได้จากผลผลิตในไร่นา 1.

  1. (คลิป) ทำเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ 1 แสน มีรายรับทุกวัน : วีดีโอ เกษตร – วีดีโอ เกษตร VDO Kaset
  2. 1 ไร่หายจน ด้วย เกษตรผสมผสานแบบพอเพียง
  3. เกษตรผสมผสาน - KasetOnilne_Bangsai
Sunday, 12-Jun-22 20:48:31 UTC